
สวดมนต์ข้ามปี มีประโยชน์อย่างไร
กิจกรรม สวดมนต์ข้ามปี จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชน เข้าวัดปฏิบัติธรรม ในช่วงเทศกาลปีใหม่ พร้อมนำหลักธรรมคำสั่งสอน มาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน โดยนอกจากจะได้เรียนรู้ธรรมะ สร้างคุณค่าในจิตใจแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น
- เริ่มต้นปีด้วยสิ่งที่เป็นสิริมงคล ก็จะได้พบแต่เรื่องมงคลในชีวิต
- เป็นการทำบุญใหญ่ เพราะเท่ากับได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า จะได้รับอานิสงส์มาก
- ลดความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้น จากอบายมุข อุบัติเหตุ และ สิ่งชั่วร้าย
- ทำให้จิตใจสงบ พร้อมเริ่มต้นชีวิตใหม่
- ได้ชำระล้างบาปที่เคยทำไว้ในปีเก่า ด้วยผลบุญจากการสวดมนต์
สถานที่ สวดมนต์ข้ามปี 2566
ใครอยู่กรุงเทพฯ เข้าร่วมกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีได้ ตามวัดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยในปี 2566 กระทรวงวัฒนธรรมจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีในส่วนกลาง ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เขตพระนคร และ วัดอรุณราชวราราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร โดยกำหนดให้วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดสัญญาณภาพ กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี เชื่อมโยงการจัดกิจกรรม สวดมนต์ข้ามปี ในส่วนภูมิภาค ของประเทศไทย และ ต่างประเทศ ผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ และ ช่องทางอื่น ๆ
สำหรับคนที่อยู่ต่างจังหวัด สามารถเข้าร่วมกิจกรรม สวดมนต์ข้ามปี ได้ ตามวัดที่อยู่ใกล้บ้าน เช่นเดียวกัน โดยกระทรวงวัฒนธรรมได้ขอความร่วมมือสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด จัดตั้งศูนย์อำนวยการกลางการจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีของจังหวัด และ อำนวยความสะดวกหน่วยงานต่าง ๆ ให้จัดกิจกรรม เพื่อเชิญชวนให้องค์กรเครือข่ายทางพระพุทธศาสนาในจังหวัด ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชนท้องถิ่น ร่วมจัดกิจกรรมหรือ สนับสนุนการดำเนินงาน
33 บทสวดมนต์ข้ามปี 2566
สำหรับบทสวดมนต์ ที่นำมาเป็นบทสวดมนต์ข้ามปีนั้น ไม่มีกำหนดที่แน่นอนชัดเจนตายตัว แล้วแต่ความสะดวก ความเหมาะสมในแต่ละสถานที่ และ แต่ละปี โดยในปี 2566 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ แนะนำให้ใช้ บทสวดมนต์ข้ามปี ทั้งหมด 33 บทด้วยกัน ดังนี้
เป็นบทที่อัญเชิญเทวดามาร่วมฟังพระปริตร หรือมาร่วมในพิธีโดยขอให้เทวดามีความสุข ปราศจากทุกข์ และช่วยคุ้มครองมนุษย์ให้พ้นภัย
7 ตำนาน
สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ
ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม
ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุม๎หิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม
ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกะโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ
(1 จบ)
๑๒ ตำนาน
สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัต๎ราคัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม
ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุม๎หิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม
ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกะโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ
(1 จบ)
2. บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นบทที่เริ่มต้นก่อนที่จะมีพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา เรียกกันโดยทั่วไปว่า บทไหว้ครู เป็นบทที่ถวายความเคารพ แด่พระพุทธเจ้า ถึงแม้ว่าพระองค์จะเสด็จปรินิพพานไปแล้วแต่พระคุณยังคงอยู่มิได้ ล่วงลับตามพระองค์ไป
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (3 จบ)
3. บทพระไตรสรณคมน์
เป็นบทปฏิญาณตน เข้าถึง พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆอริยเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง ที่ระลึกสูงสุด
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
(ทุติยัมปิ) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
(ตะติยัมปิ) พุทธัง สะระฆัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
4. บทนมการสิทธิคาถา (สัมพุทเธฯ)
เป็นการน้อมระลึกถึง และบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ที่ล่วงมาแล้ว จนถึงปัจจุบัน และที่จะอุบัติในอนาคต และ อธิษฐานให้การน้อมใจสักการะบูชา มีอานุภาพยิ่งนี้ ได้ขจัด ข้อขัดข้องต่างๆ ให้หมดไป และอันตรายทั้งหลาย ทั้งปวง จงพินาศไป
สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
5. บทนมการสิทธิคาถา (โย จักขุมาฯ)
คาถานมัสการพระรัตนตรัย เพื่อให้สำเร็จในสิ่งปรารถนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงนิพนธ์
โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต
มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ
พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง
นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ ฯ
ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมานิ โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ ส๎วากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ ฯ
สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
6. บทนโมการอัฏฐกคาถา (นะโม 8 บท)
บทนอบน้อมพระรัตนตรัย เพื่อให้เกิดเดชานุภาพในการเจริญพระพุทธมนต์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นะโม อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ
นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน
นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง
นะโม โอมะกาตีตัสสะ ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ
นะโมการัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา
นะโมการานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
นะโมการัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ
7. บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
เป็นระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธองค์ทรงแสดง มีความหมายว่า ทำกงล้อแห่งธรรม ให้หมุนไป คือ การนำพระพุทธศาสนาให้แผ่ขยายไปทั่วทุกทิศ
อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง สัมพุชฌิตวา ตะถาคะโต
ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฎิปัตติ จะ มัชฌิมา
จะตูสวาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง
นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะฌามะ เส ฯ
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถา คะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ
อะยัง โข สา ภิกขะเว
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ ชาติปิ ทุกขะ ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะ ทุกขะ โทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ
อิ ทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ฯ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมา อาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ (หยุด)
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิญานัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญาอุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ
อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ยาวะกีวัญจะ
เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
เนวะ ตาวาหัง
ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
ยะโต จะ โข
เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
อะถาหัง
ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ
อิทะมะโว จะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ (หยุด)
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ (หยุด)
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ
อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ
อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
8. บทมงคลสูตร
บทที่ว่าด้วยมงคล พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอน ถึงหลักธรรมที่นำาความสุข ความเจริญ ซึ่งเรียกว่า มงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการ เมื่อบุคคลประพฤติปฏิบัติตามจะเป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ ประสบความสำาเร็จในทุกที่
(พะหูเทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมังฯ)
๑. อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๒. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๓. พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๔. มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๕. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๖. อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๗. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๘. ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๙. ตะโป จะ พรัห๎มะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๑๐. ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
๑๑. เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ
9. บทรตนสูตร
บทที่แสดงอานุภาพของพระรัตนตรัยโดยตรง เมื่อเทวดาและมนุษย์รู้คุณค่าของพระรัตนตรัย ยอมรับนับถือ บูชาพระรัตนตรัยเป็นที่ พึ่งที่ระลึกแล้วย่อมก่อให้เกิดพลังใจในการต่อสู้ ฟันฝ่าเพื่อชัยชนะต่ออุปสรรค ปัญหา ตลอดจนภัยทั้งหลายทั้งปวงได้
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
10. บทกรณียเมตตสูตร
พระสูตรว่าด้วยอานุภาพแห่งเมตตาจิต เป็นพระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำพระภิกษุให้แผ่เมตตาจิตไปในมวลสรรพสัตว์ ตลอดจนเทพเทวา ภูตผี ปีศาจทั้งหลาย
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมปิ สัพพะภุเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ
11. บทขันธปริตร
บทสวดป้องกันพญางู ส่วนสาเหตุ ที่ตั้งชื่อว่า ขันธปริตร นั้น อาจหมายถึง มนต์ป้องกันตัว (จากพญางู) ทั้งนี้ เนื่องจาก ขันธ แปลว่า ตัว หรือกาย นั่นเอง ในปริตรนี้ พระพุทธเจ้าตรัสสอนเรื่องเมตตากรุณา
วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัท๎รานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา
อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ
สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู
มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ
ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.
12.บทเมตตานิสังสสุตตปาฐ
บทที่กล่าวถึงอานิสงส์ของเมตตา 11 ประการ คือ หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของมนุษย์ เป็นที่รัก ของอมนุษย์ เทวดารักษา ไฟ ยาพิษ ศัสตราไม่กล้ำกราย จิตใจเป็นสมาธิได้เร็ว สีหน้า ผ่องใส ไม่หลงตาย เมื่อยังไม่ถึงนิพพานไปเกิดในพรหมโลก
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณ
ฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา
ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู
ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ
ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะ
ตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ
เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ ฯ
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ ฯ นะ ปาปะกัง
สุปินัง ปัสสะติ ฯ มะนุสสานัง ปิโย โหติฯ
อะมะ นุสสานัง ปิโย โหติ ฯ เทวะตา รักขันติ ฯ
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ ฯ ตุวะฏัง
จิตตัง สะมาธิยะติ ฯ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ ฯ
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ ฯ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌัน
โต พ๎รัห๎มะโลกูปะโค โหติ ฯ
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ
ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุ
กะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ
อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาติ ฯ อิทะมะ
โวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุนติ ฯ
13. บทโมรปริตร
คือพระสูตรที่นกยูงทองโพธิสัตว์สาธยายเป็นประจำ กล่าวถึงคุณของพระพุทธเจ้าแล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทักษ์คุ้มครองให้มีความสวัสดี
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง
ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร
จะระติ เอสะนา.
อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง
ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร
วาสะมะกัปปะยีติ.
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ
ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุ
กะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ
อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาติ ฯ อิทะมะ
โวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุนติ ฯ
14. บทจันทปริตตปาฐะ
บทที่ประกาศขอให้พระพุทธองค์เป็นที่พึ่ง เสมือน จันทิมเทพบุตรประกาศว่ามีพระพุทธองค์เป็นที่พึ่ง ทำาให้พ้นภัยจากอสุรินทราหู ด้วยพุทธานุภาพ
เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณทิกัสสะ
อาราเม ฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ จันทิมา
เทวะปุตโต ราหุนา อะสุรินเทนะ คะหิโต โหติ ฯ
อะถะโข จันทิมา เทวะปุตโต ภะคะวันตัง อะนุสสะระมาโน
ตายัง เวลายัง อิมัง คาถัง อะภาสิ
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฏิปันโนส๎ะมิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวาติฯ
อะถะโข ภะคะวา จันทิมัง เทวะปุตตัง อารัพภะ
ราหุง อะสุรินทัง คาถายะ อัชฌะภาสิ
ตะถาคะตัง อะระหันตัง จันทิมา สะระณัง คะโต
ราหุ จันทัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกาติฯ
อะถะโข ราหุ อะสุรินโท จันทิมัง เทวะปุตตัง มุญจิต๎ตะวา
ตะระมานะรูโป เยนะ เวปะจิตติ อะสุรินโท เตนุปะสังกะมิ
อุปสังกะมิต๎ตะวา สังวิคโค โลมะหัฏฐะชาโต เอกะมันตัง
อัฏฐาสิฯ เอกะมันตัง ฐิตัง ราหุง อะสุรินทัง เวปะจิตติ
อะสุรินโท คาถา อัชฌะภาสิ
กินนุ สันตะระมาโน วะ ราหุ จันทัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ ฯ
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ
พุทธะคาถาภิคีโตมะหิ โน จะ มุญเจยยะ จันทิมันติฯ
15. บทสุริยปริตตปาฐะ
บทที่ประกาศขอให้พระพุทธองค์เป็นที่พึ่ง เสมือนสุริยเทพบุตรประกาศว่ามีพระพุทธองค์เป็นที่พึ่ง ทำาให้พ้นภัยจากอสุรินทราหู ด้วยพุทธานุภาพ
เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ
อาราเมฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สุริโย
เทวะปุตโต ราหุนา อะสุรินเทนะ คะหิโต โหติฯ
อะถะโข สุริโย เทวะปุตโต ภะคะวันตัง
อะนุสสะระมาโน ตายัง เวลายัง อิมัง คาถัง อะภาสิ
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฏิปันโนส๎ะมิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวาติฯ
อะถะโข ภะคะวา สุริยัง เทวะปุตตัง อารัพภะ
ราหุง อะสุรินทัง คาถายะ อัชฌะภาสิ
ตะถาคะตัง อะระหันตัง สุริโย สะระณัง คะโต
ราหุ สุริยัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกา ฯ
โย อันธะกาเร ตะมะสี ปะภังกะโร
เวโรจะโน มัณฑะลิ อุคคะเตโช
มา ราหุ คิลี จะระมันตะลิกเข
ปะชัง มะมะ ราหุ ปะมุญจะ สุริยันติฯ
อะถะโข ราหุ อะสุรินโท สุริยัง เทวะปุตตัง
มุญจิต๎ตะวา ตะระมานะรูโป เยนะ เวปะจิตติ
อะสุรินโท เตนุปะสังกะมิ อุปสังกมิต๎ตะวา สังวิคโค
โลมะหัฏฐะชาโต เอกะมันตัง อัฏฐาสิฯ
เอกะมันตัง ฐิตัง โข ราหุง อะสุรินทัง เวปะจิตติ
อะสุรินโท คาถายะ อัชฌะภาสิ
กิกินนุ สันตะระมาโน วะ ราหุ สุริยัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ ฯ
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ
พุทธะคาถาภิคีโตมะหิ โน เจ มุญเจยยะ สุริยันติฯ
16. บทวัฏฏกปริตร
บทที่หมายถึงปริตรของนกคุ่ม คือ เมื่อพระโพธิสัตว์ เสวยพระชาติเป็นนกคุ่มได้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าในอดีต ระลึกถึงพระธรรมคุณ ตั้งสัจจาธิษฐานขอให้ไฟป่ามอดดับ
อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง
อาวัชชิต๎วา ธัมมะพะลัง สะริต๎วา ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง
สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา
มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ
สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัต๎วา ยะถา สิขี
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ
17. บทอนุสสรณปาฐะ
หรือ บทพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ
อิติปิโสภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ ฯ
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก, เอหิปัสสิโก
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโตสาวะ กะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
18. บทอาฏานาฏิยสูตร
บทที่กล่าวนมัสการพระพุทธเจ้าในอดีต ทั้งหลายจนถึง องค์ปัจจุบัน ต่อจากนั้นก็บรรยายถึงท้าวมหาราชทั้ง ๔ ว่า ใครเป็นอะไร มีหน้าที่อะไร และสุดท้าย ก็สรุปพระคุณของพระรัตนตรัย เชื่อกันว่า ผู้ใดสวด อาฏานาฏิยรักขาแล้ว บรรดายักษ์และภูตผีปีศาจทั้งหลายจะไม่ทำาอันตรายและคุ้มครอง รักษาให้ปลอดภัย
วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น๎หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา
หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง.
(วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ)
19. บทอังคุลิมาลสูตร
บทที่เป็นคำกล่าวของพระองคุลิมาลที่กล่าวว่า เมื่อได้เกิดในอริยชาติแล้ว ไม่เคยจงใจฆ่าเลย และด้วยการกล่าวคำาสัตย์นี้ ขอให้ผู้ที่อยู่ ในครรภ์จงมีแต่ความสวัสดี
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง
ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ.
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง
ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ.
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง
ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ.
20. บทโพชฌังคสูตร
บทที่ว่าด้วยองค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อตรัสรู้ มี ๗ ประการ คือ (๑) สติ ความระลึกได้ (๒) ธัมมวิจยะ ความสอดส่องธรรม (๓) วิริยะ ความเพียร (๔) ปีติ ความอิ่มเอมใจ (๕) ปัสสัทธิ ความสงบใจ (๖) สมาธิ ความตั้งใจมั่น (๗) อุเบกขา ความวางเฉย
โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
วิริยัมปีติปัสสัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา
มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา
สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง
คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ
เต จะ ตัง อะภินันทิตวาโรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปีฬิโต
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง
สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง
มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
21. บทอภยสูตร
บทที่เป็นการขอให้ลางร้าย สิ่งไม่เป็นมงคล เสียงนกเสียงกา ที่ไม่เป็นมงคล บาปเคราะห์ ฝันร้ายพินาศไปด้วยพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ ตอนกลาง เป็นการอัญเชิญเหล่าเทพยดาที่ได้อัญเชิญมาร่วมในงานมงคล ร่วมฟังสวด ร่วมรับสิ่งที่เป็นมงคล กลับวิมานไป และขอให้เทพยดาทั้งหลายได้ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา และตอนท้ายเป็นการขอให้อานุภาพของพระพุทธเจ้าพระปัจเจก พุทธเจ้า และพระอรหันต์ทั้งหมดปกป้องคุ้มครองรักษา
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง
มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
22. บทสักกัตวา
บทที่สรรเสริญพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่า ยอดเยี่ยม และด้วยเดชแห่งพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ ขอให้สิ่งไม่ดีมลายสูญไป
สักกัตวา พุทธะรัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมังวะรัง
หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตเชนะ
โสตถินา นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เม
สักกัตวา ธัมมะรัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมังวะรัง
ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เม
สักกัตวา สังฆะรัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมังวะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะโสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เม
23. บทนัตถิเม ฯ
บทที่ว่าด้วยที่พึ่งอันประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
23. บทนัตถิเม ฯ
บทที่ว่าด้วยที่พึ่งอันประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหนตุ เต ชะยะมังคะลัง
24. บทยังกิญจิ
บทที่ว่าด้วยรัตนะหรือสิ่งมีค่าในโลกน้ี คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
25. บทมงคลจักรวาลใหญ่
บทที่อ้างอานุภาพพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ให้กำจัดทุกข์โศกโรคภัยทั้งปวง
สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณา
ปะริมิตะปุญญาธิการัสสะสัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ
ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ทวัตติงสะมะหา
ปุริสะลักขะณานุภาเวนะ อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ
อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ
เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตา
นุภาเวนะทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ สีละสะมาธิปัญญานภาเวนะ
พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ
อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ
จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ
อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ
ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ
สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณา มุทิตา อุเปกขานุภาเวนะ
สัพพะปะริตตานุภาเวนะ ระตะนัตนุภาเวนะตะยะสะระณา ตุยหัง
สัพพะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ
สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ
ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา ฯ
อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคามะหาสะมุททา อารักขะกา
เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ
26. บทรตนัตตยัปปภาวาภิยาจนคาถา
บทที่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประพันธ์ขึ้น เป็นคาถาที่ขอให้อานุภาพของพระรัตนตรัย ขจัดอุปสรรคทั้งปวง ความสวัสดีมีแก่ประเทศไทย และขอให้เทวดาคุ้มครองรักษา
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ อุตตะมัง ธัมมะมัชฌะคา
มะหาสังฆัง ปะโพเธสิ อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
พุทโธ ธัมโม สังโฆ จาติ นานาโหนตัมปิ วัตถุโต
อัญญะมัญญาวิโยคา วะ อกีภูตัมปะนัตถะโต
พุทโธ ธัมมัสสะ โพเธตา ธัมโม สังเฆนะ ธาริโต
สังโฆ จะ สาวะโก พุทธัสสะ อิจเจกาพัทธะเมวิทัง
วิสุทธัง อุตตะมัง เสฏฐัง โลกัสมิง ระตะนัตตะยัง
สังวัตตะติ ปะสันนานัง อัตตะโน สุทธิกามินัง
สัมมา ปะฏิปัชชันตานัง ปะระมายะ วิสุทธิยา ฯ
วิสุทธิ สัพพักเลเสหิ โหติ ทุกเขหิ นิพพุติ
นิพพานัง ปะระมัง สุญญัง นิพพานัง ปะระมัง สุขัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา ฯ
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
อุปัททะวันตะรายา จะ อุปะสัคคา จะ สัพพะโส
มา ภะทาจิ สัมผุสิงสุ รัฏฐัง สยามานะเมวิทัง
อาโรคิยะสุขัญเจวะ ตะโต ทีฆายุตาปิ จะ
ตัพพัตถูนัญจะ สัมปัตโย สุขัง สัพพัตถะ โสตถิ จะ
ภะวันตุ สัมปะวัตตันตุ สยามานัง รัฏฐะปาลินัง
เต จะ รัฏฐัญจะ รักขันตุ สยามะรัฏฐิกะเทวะตา
สยามานัง รัฏฐะปาลีหิ ธัมมามิเสหิ ปูชิตา
สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ อิทัง ผะลัง
เอตัสมิง ระตะนัตตะยัสมิง สัมปะสาทะนะเจตะโส ฯ
27. บทสุขาภิยาจนคาถา
บทที่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฉิม) วัดโมลีโลกยารามแต่งขึ้น โดยขอให้อานุภาพของพระปริตรที่ได้สาธยายแล้ว เกิดความสุขสวัสดิ์ในราชตระกูล เทวดาคุ้มครอง ฝนตกต้องตามฤดูกาล อาณาประชาราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุข
ยัง ยัง เทวะมะนุสสานัง มังคะลัตถายะ ภาสิตัง
ตัสสะ ตัสสานุภาเวนะ โหตุ ราชะกุเล สุขัง
เย เย อารักขะกา เทวา ตัตถะ ตัตถาธิวาสิโน
อิมินา ธัมมะทาเนนะ สัพเพ อัมเหหิ ปูชิตา
สะทา ภัทรานิ ปัสสันตุ สุขิตา โหนตุ นิพภะยา
อัปปะมัตตา จะ อัมเหสุ สัพเพ รักขันตุ โน สะทา
ยัญจะ โน ภาสะมาเนหิ กุสะลัง ปะสุตัง พะหุง
ตันโน เทวานุโมทันตุ จิรัง ติฏฐันตุ สาตะตัง
เย วา ชะลาพุชัณฑะชา สังเสทะโชะปาติกา
อะเวรา โหนตุ สัพเพ เต อะนีฆา นิรุปัททะวา
ปัสสันตุ อะนะวัชชานิ มา จะ สาวัชชะมาคะมา
จิรัง ติฏฐะตุ โลกัสมิง สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง
ทัสเสนตัง โสตะวันตูนัง มัคคัง สัตตะวิสุทธิยา
ยาวะ พุทโธติ นามัมปิ โลกะเชฏฐัสสะ สัตถุโน
สัมมาเทสิตะธัมมัสสะ ปะวัตตะติ มะเหสิโน
ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน
สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง
มาตา ปิตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ฯ
28. บทเทวตาอุยโยชนคาถา
บทที่ว่าด้วยการขอให้สรรพสัตว์พ้นทุกข์ และเหล่าเทวดาที่มาร่วมอนุโมทนาบุญ ขอให้กลับไป
ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน
เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง
สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ
สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ
29. บทพุทธชัยมงคลคาถา
บทถวายพรพระ บทที่ว่าด้วยชัยชนะ ๘ ประการอันเป็นมงคลของพระพุทธเจ้า
พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
30. บทชยปริตร
บทที่สวดเพื่อให้เกิดชัยมงคลในการทำพิธีมงคลต่าง ๆ
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต
ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง
พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต
ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ
31. บทภวตุ สัพพมังคลัง
บทที่อ้างอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย เพื่อให้เกิด สรรพมงคล เทวดาคุ้มครองรักษา
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
32. บทนักขัตตยักษ์
บทที่อ้างอานุภาพพระปริตรที่ได้สาธยายแล้ว กำจัดอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว
(3 จบ)
33. บทชัยมงคลคาถา
บทคาถาสวดเพื่อให้เกิดมีชัยมงคลในการทำพิธีมงคลต่าง ๆ โดยกล่าวถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ทรงมีพระกรุณาเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ เป็นสัจวาจาให้เกิดชัยมงคลในมงคลพิธี ดังที่พระองค์ได้ทรงชนะมาร ที่โคนโพธิพฤกษ์
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง
กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ